ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ โครงการสิวารัตน์ 11 บางเลน-ลาดหลุมแก้ว ดร.สมัย..

การวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ โครงการสิวารัตน์ 11








ผลิตภัณฑ์ (Product)  อะไรก็ตามที่สามารถนำเสนอให้กับตลาดหรือกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้เกิดความสนใจ นำไปใช้หรือบริโภค และสามารถตอบสนองความจำเป็นหรือความต้องการได้  -สินค้า (Goods) -บริการ (Services)-สถานที่ (Places)-องค์การ (Organizations)-บุคคล (Persons)-ความคิด (Ideas)    ระดับของผลิตภัณฑ์   1. ผลิตภัณฑ์หลัก  ผลประโยชน์หลัก/บริการพื้นฐาน  2. ผลิตภัณฑ์ที่แท้จริง  ระดับคุณภาพ คุณสมบัติ
รูปแบบ ตรายี่ห้อ บรรจุภัณฑ์  3. ผลิตภัณฑ์เสริม  การติดตั้ง  การรับประกัน  การขนส่งและชำระเงิน  การบริการหลังการขาย
การจำแนกประเภทของผลิตภัณฑ์ 1 . ผลิตภัณฑ์เพื่อผู้บริโภค  (Consumer Products)  จำแนกโดยพิจารณาจากการที่สามารถจับต้องได้และความคงทน  สินค้าที่คงทน (Durable Goods) สินค้าที่ไม่คงทน (Nondurable Goods)บริการ (Services) จำแนกโดยพิจารณาจากพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค  ผลิตภัณฑ์สะดวกซื้อ (Convenience Products)ผลิตภัณฑ์หลัก (Staple Products) ผลิตภัณฑ์ที่ซื้ออย่างฉับพลัน (Impulse Products)ผลิตภัณฑ์ที่ซื้อในยามฉุกเฉิน (Emergency Products) ผลิตภัณฑ์เลือกซื้อ (Shopping Products)ผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะเหมือนกัน (Homogeneous Products)ผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะแตกต่างกัน (Heterogeneous Products)ผลิตภัณฑ์เจาะจงซื้อ (Specialty Products)ผลิตภัณฑ์ที่ไม่แสวงซื้อ (Unsought Products)ผลิตภัณฑ์ที่ไม่แสวงซื้อชนิดใหม่(New Unsought Products)ผลิตภัณฑ์ที่ไม่แสวงซื้อโดยทั่วไป (Regularly Unsought Products)
2. ผลิตภัณฑ์เพื่อการอุตสาหกรรม  (Industrial Products) ผลิตภัณฑ์ที่ใช้สนับสนุนการผลิต (Support)-สิ่งติดตั้ง (Installations)อาคาร และอุปกรณ์ติดตั้งถาวร-อุปกรณ์ประกอบ (Accessory Equipment)อุปกรณ์ที่เคลื่อนย้ายได้ และอุปกรณ์สำนักงาน-วัสดุสิ้นเปลือง (Supplies)วัสดุที่ใช้ในการผลิต และวัสดุที่ใช้ในการซ่อมบำรุง-บริการสำหรับธุรกิจ (Business Services)บริการซ่อมบำรุง และบริการให้คำปรึกษา
ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในกระบวนการผลิต (Entering)-วัตถุดิบ (Raw Materials)จากการเพาะปลูก และจากธรรมชาติ-วัสดุและชิ้นส่วนในการผลิต (Manufactured Materials and Parts)ชิ้นส่วนประกอบ และวัสดุที่ใช้เป็นส่วนประกอบ    ภาพรวมของการจัดการด้านผลิตภัณฑ์àผลิตภัณฑ์แต่ละตัว : ตรายี่ห้อ บรรจุภัณฑ์ ป้ายฉลาก(Individual Products : Brand, Packaging, Labeling)àสายผลิตภัณฑ์(Product Line)àส่วนประสมผลิตภัณฑ์(Product Mix)  A-1  ตรายี่ห้อ (Brand)  ชื่อ สัญลักษณ์ การออกแบบ หรือองค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านั้นรวมกัน เพื่อใช้แสดงถึงผลิตภัณฑ์ของกิจการใช้เพื่อแสดงความแตกต่างของผลิตภัณฑ์จากผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งขันชื่อตรายี่ห้อ (Brand Name)ผู้อุปถัมภ์ตรายี่ห้อ (Brand Sponsor)กลยุทธ์ตรายี่ห้อ (Brand Strategy)  ชื่อตรายี่ห้อ (Brand Name) ที่ดี สั้น กะทัดรัด จดจำได้ง่าย ออกเสียงได้ง่ายมีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ แปลเป็นภาษาต่างประเทศได้ง่าย มีความหมายเหมาะสม  บอกถึงคุณสมบัติที่สำคัญของผลิตภัณฑ์สอดคล้องกับค่านิยมและวัฒนธรรมของลูกค้าเป้าหมาย  นำไปจดทะเบียนการค้าได้ (ไม่ซ้ำกับที่มีอยู่เดิม)  ผู้อุปถัมภ์ตรายี่ห้อ (Brand Sponsor)àการใช้ชื่อตรายี่ห้อของผู้ผลิต (Manufacturer’s Brand)การใช้ชื่อตรายี่ห้อของคนกลาง (Private Brand / House Brand)การใช้ชื่อตรายี่ห้อตามที่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของ (Licensed Brand)การใช้ชื่อตรายี่ห้อร่วมกัน (Co-Branding)  A-2  บรรจุภัณฑ์ (Packaging)  สิ่งที่ใช้ห่อหุ้มหรือบรรจุผลิตภัณฑ์  หน้าที่ของบรรจุภัณฑ์ àกำหนดแนวคิดเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ เพื่อป้องผลิตภัณฑ์ในขณะขนส่ง ไม่ให้เสียหายเพื่อช่วยในการเก็บรักษาและนำผลิตภัณฑ์ไปใช้งานเพื่อช่วยให้คนกลางยอมรับผลิตภัณฑ์ได้ง่ายขึ้นเพื่อช่วยกระตุ้นให้ผู้บริโภคซื้อผลิตภัณฑ์  A-3  ป้ายฉลาก (Labeling)  หน้าที่ของป้ายฉลากàบอกชนิดของผลิตภัณฑ์และตรายี่ห้อ  ให้รายละเอียดเกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์ช่วยในการส่งเสริมการตลาดให้กับผลิตภัณฑ์  B. สายผลิตภัณฑ์ (Product Line)  กลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดàการใช้งานคล้ายกัน ใช้ร่วมกันได้  ลักษณะภายนอกคล้ายกัน  ใช้ช่องทางการจำหน่ายร่วมกันได้  มีลูกค้าเป็นกลุ่มเดียวกัน  ช่วงระดับราคาใกล้เคียงกัน  ความยาวของสายผลิตภัณฑ์ (Product Line Length)  ควรมีความยาวที่เหมาะสม เพื่อให้เกิดกำไรสูงสุด 
การตัดสินใจเพิ่ม-ลดความยาวของสายผลิตภัณฑ์  การขยายสายผลิตภัณฑ์ (Product Line Stretching)การเพิ่มเติมสายผลิตภัณฑ์ (Product Line Filling)การตัดทอนสายผลิตภัณฑ์ (Product Line Filling)
 C. ส่วนประสมผลิตภัณฑ์ (Product Mix)àกลุ่มผลิตภัณฑ์ทั้งหมดที่กิจการมีไว้จำหน่าย โดยพิจารณาถึง  ความกว้าง (Width) : จำนวนสายผลิตภัณฑ์  ความยาว (Length) : จำนวนผลิตภัณฑ์ทุกรายการที่อยู่ในทุกสายผลิตภัณฑ์รวมกัน  ความลึก (Depth) : จำนวนรูปแบบที่ต่างกันของผลิตภัณฑ์  แต่ละรายการ  ความสอดคล้อง (Consistency) : ความสัมพันธ์กันของสาย  ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ในด้านการผลิต การใช้งาน การจัดจำหน่าย ฯลฯ
วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (Product Life Cycle หรือ PLC)àแสดงการเปลี่ยนแปลงของยอดขายและกำไรของผลิตภัณฑ์ ชนิดใดชนิดหนึ่งตลอดช่วงชีวิตของผลิตภัณฑ์ชนิดนั้นใช้อธิบายลักษณะของผลิตภัณฑ์ทั่วไป ไม่เจาะจงตรา ยี่ห้อแบ่งออกเป็น 4 ช่วงเวลา คือ-ขั้นแนะนำ (Introduction Stage)-ขั้นเจริญเติบโต (Growth Stage)-ขั้นเจริญเติบโตเต็มที่ (Maturity Stage)-ขั้นตกต่ำ (Decline Stage)  ผลิตภัณฑ์ใหม่àผลิตภัณฑ์บางชนิดมีวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์สั้น เนื่องจาก -การเปลี่ยนแปลงรสนิยมของผู้บริโภค-ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี-กลยุทธ์การตลาดของคู่แข่งขัน ฯลฯ  การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จึงมีความสำคัญต่อความอยู่รอดและความรุ่งเรืองของกิจการในระยะยาว   ประเภทของผลิตภัณฑ์ใหม่àผลิตภัณฑ์ใหม่แบบริเริ่ม (Innovative Product)ยังไม่เคยมีในตลาดมาก่อน เป็นแนวความคิดใหม่ ๆผลิตภัณฑ์ใหม่แบบปรับปรุง (Modified Product)เป็นการปรับปรุงผลิตภัณฑ์เดิมให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปผลิตภัณฑ์เลียนแบบ (Me-too Product)เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษัท แต่มีคู่แข่งขันอยู่ในตลาดแล้ว  กระบวนการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่àการสร้างแนวความคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่ การกลั่นกรองและประเมินความคิด-การวิเคราะห์ทางธุรกิจ-การพัฒนาผลิตภัณฑ์-การทดสอบตลาด-การดำเนินธุรกิจ 



ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

CPM กับ PERT ต่างกันอย่างไร

คำถามที่ 1 เอกสาร power point หน้า 13 มีกี่เส้นทาง ที่เป็นไปได้ และเส้นทางใดเป็น critical path พร้อมบอกระยะเวลาที่วิกฤติ               จากภาพ มีทั้งหมด 3 เส้นทางที่เป็นไปได้คือ               A - D - I = ใช้ระยะเวลา 0+3+8+6 = 17              B - E - G - J = ใช้ระยะเวลา 0+5+5+4+4 = 18               C - F - H - J  =  ใช้ระยะเวลา 0+7+5+5+4= 21              ดังนั้น   เส้นทางที่เป็น critical path คือ   C - F - H - J  ระยะเวลาที่วิกฤติคือ 21   คำถามที่ 2 ท่านคิดว่า CPM กับ PERT ต่างกันอย่างไร หน้า 19 กับ 26 การบริหารงานโครงการด้วยการ วางแผนควบคุม โดยใช้เทคนิค PERT : Program Evaluation and Review Technique และ CPM : Critical Path Method เป็นการวิเคราะห์ข่ายงานที่มักนำมาใช้ในการบริหารงานโครงการ มีจุดเริ่มต้นของโครงการจนถึงปิดโครงการที่แน่นอน มีส่วนงานย่อยต่าง ๆ ที่มีการกระจายโดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ข้อแตกต่างชัดเจนระหว่าง PERT และ CPM คือ เวลาในการทำกิจกรรม โดยที่เวลาในการทำกิจกรรมของ PERT จะเป็นเวลาโดยประมาณซึ่งคำนวณได้ด้วยการใช้ความน่าจะเป็น PERT จึงใช้กับโครงการ

สอนงานการทำงวด งานการก่อสร้าง การจัดงวดงานเบื้องต้น มูลค่างานที่จ่ายควรใกล้เคียงกัน ส่งเสริมให้องค์กรแข็งแรง

รายงานย่อยฉบับที่ 1 ปัญหาจากการจัดงวดงานที่ควรทราบ กระทู้คำถาม ออกแบบและสร้างบ้าน คุ้มครองผู้บริโภค สวัสดีครับ พี่ๆน้องๆชาวพันทิพย์ จากกระทู้ที่ผมเคยตั้งไว้   รายงานการก่อสร้างบ้านพัก 2 ชั้น ฉบับที่ 1   http://pantip.com/topic/30590647 รายงานการก่อสร้างบ้านพัก 2 ชั้น ฉบับที่ 2   http://pantip.com/topic/30609981 ถ้าท่านใดขอรับบันทึกการประชุมทางหลังไมค์ของผมไปจะพบว่าช่วงท้ายได้มีการพูดถึงการจัดงวดงานใหม่ ผมจึงอยากนำกรณีนี้มานำมาประกอบความเข้าใจ ผมขออนุญาตติด tag 2 ห้องนะครับ 1. ห้องชายคา - เกี่ยวกับขั้นตอนการสร้างบ้าน 2. คุ้มครองผู้บริโภค - เกี่ยวกับการรักษาผลประโยชน์ให้เจ้าของบ้านซึ่งอาจถูกเอาเปรียบได้ ถ้าท่านไหนมีคำแนะนำเพิ่มเติม แนะนำได้เลยนะครับ เพราะผมเองอาจจะมีข้อผิดพลาด ถือว่าแลกเปลี่ยนมุมมองกันครับ 7   6   chekub       17 มิถุนายน 2556 เวลา 21:56 น. สมาชิกหมายเลข 1439329  ถูกใจ,   You raise me up  ถูกใจ,   Paradise Slice and double shot  ถูกใจ,   สาวบางกอก  ถูกใจ,   แมวมองนอนหวด  ถูกใจ,   สมาชิกหมายเลข 746318  ทึ่ง 18 ความคิดเห็น ความคิ

กลยุทธ์ใหม่ ModernTrade เพิ่มยอดขาย ขยายรูปแบบ แย่งลูกค้าคู่แข่ง

      โดย...ธันยวัชร์ ไชยตระกูลชัย                หลังจากควบรวมกิจการกับคาร์ฟูร์                บิ๊กซี ก็ผงาดขึ้นเป็นเบอร์ 2                จ่อไล่หลังเทสโก้โลตัสมาติดๆ                 และก็มีความเคลื่อนไหว ใน "รูปแบบ" ของตัวห้างออกมาอย่างต่อเนื่อง                มาลองทบทวนดูความเคลื่อนไหวดูอีกสักครั้ง               เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 Casino Guichard-Perrachon หรือ กลุ่มคาสิโน ได้ชนะการประมูลกิจการคาร์ฟูร์ในประเทศไทย ด้วยราคาซื้อขาย 686 ล้านยูโร โดยมีธนาคารดอยซ์แบงก์ เป็นที่ปรึกษา ทั้งนี้ บริษัทดังกล่าวถือหุ้น บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ในประเทศไทย และ 2 บริษัทรวมตัวกัน และจะส่งผลให้สาขาของบิ๊กซีเพิ่มเป็น 105 สาขา จาก 60 สาขาในขณะนั้น คิดเป็นมูลค่า 35,500 ล้านบาท               การควบรวมกันเสร็จสิ้นในเดือนมกราคมที่ผ่านมา โดยปัจจุบัน บิ๊กซีได้ทำการรีโนเวตห้างคาร์ฟูร์ทุกสาขาให้กลายเป็น "บิ๊กซี" ทั้งหมด               โดยรูปแบบจะแตกต่างกันไป มีตั้งแต่ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์, บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า, บิ๊กซี มาร์เก็ต (เดิม