ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี วิธีการ การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน จะมีขั้นตอนการจดทะเบียนและเมื่อจดจัดตั้งฯ วิสาหกิจชุมชน งานดอกไม้ เมืองลพบุรี อ.เมือง จ.ลพบุรี
การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน จะมีขั้นตอนการจดทะเบียนและเมื่อจดจัดตั้งฯ
โครงการ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน
เพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้
(ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
โครงการนี้จัดทำเพื่อกลุ่มเป้าหมายของสมาชิกที่ชัดเจน คือเพื่อสมาชิกสหกรณ์ฯและประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ ข้าราชการบำนาญทุกหน่วยงานพร้อมด้วยประชาชนทั่วไปที่มีความประสงค์ที่จะเข้าอยู่อาศัยในโครงการที่บริการ แบบครบวงจร ในการให้การบริการ แบบอย่างซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ซึ่งได้ออกแบบให้มีความทันสมัย และในโครงการมีการบริการ ดังเช่น โครงการรักษาสุขภาพ และ นันทนาการ 20 กิจกรรม ให้บริการสำหรับผู้สูงวัย ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุน และได้รับการสนับสนุนการประกอบกิจการในกิจการของรัฐ ตาม นโยบายของภาครัฐ ประจำปี 2558
กรมกิจการผู้สูงอายุ ได้ออกหนังสือการสนับสนุน ที่ 4040/3149 และได้ทำหนังสือถึงสำนักงานการเคหะแห่งชาติ เลขที่ 4040/ 14323 เพื่อร่วมกันหาแนวทางการทำงานร่วมกันในการลงทุนในกิจการของรัฐภาคเอกชน พร้อมทั้งนี้กรมกิจการผู้สูงอายุ ได้มอบคู่มือการวิธีการให้บริการ ตามนโยบายภาครัฐที่ได้มาตาฐานในการทำงาน ตาม พรบ.ส่งเสริมการลงทุน พร้อมรายชื่อประชาชนที่มีความต้องการจะอยู่อาศัยในโครงการของภาครัฐ ที่ลงทะเบียนไว้กับ ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการทางสังคมผู้สูงอายุวาสนะเวศม์ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา และ สำนักงานกิจการ ที่อยู่ในการดูแลของ กรมกิจการผู้สูงอายุ ของประเทศไทย เชิญประชุมร่วมกัน ตามเอกสารแนบท้ายมานี้
ดร. ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้างและพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจำนวนมาก เนื่องด้วยบริษัทฯ เป็นผู้ประกอบกิจการในจังหวัดนครปฐม และได้เล็งเห็นว่ารัฐบาลกำลังผลักดันและดำเนินโครงการประชารัฐด้านต่างๆเป็นจำนวนมาก บริษัทฯจึงมีความประสงค์ที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยเฉพาะด้านโดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงวัย
จึงเขียนโครงการ ซี่เนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐ ภาคเอกชน เพื่อลงทุนในกิจการของรัฐ ตาม พรบ.ส่งเสริมการลงทุน ปี 2558 และได้ร่วมประชุม ศึกษาหาแนวทางการลงทุนและขอสนับนุการลงทุนในกิจการของภาครัฐ 2558 ต่อ หน่วยงานของรัฐ ผ่านกรมกิจการผู้สูงวัย ผ่านท่าน อธิบดี กรมกิจการผู้สูงอายุ ในเวลานั้น และได้รับหนังสือตอบรับตลอดจน รายชื่อผู้มีความประสงที่จะอยู่อาศัยในโครงการดังกล่าว ซึงมีจำนวนมาก และได้ขอการสนับสนุนจำนวนสมาชิกที่สนใจต่อโครงการ ซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐ ภาคเอกชน ถึงสำนักงานสหกรณ์บริการต่างๆและสหกรณ์ออมทรัพย์ครู จังหวัดต่างๆและประชาชนในพื้นที่ตามนโยบายของรัฐบาลที่มีความประสงค์จะเข้าพักอาศัยได้ ในพื้นที่ โครงการ เพื่อเป็นการวางแผนการอยู่อาศัย ในวัยชราที่สามารถฟื้นฟูคุณภาพชีวิตที่ดีถูกลักษณะการอยู่อาศัยที่ดี ตามนโยบายของรัฐบาล ปี 2558
ลักษณะโครงการ ประกอบด้วย 3 ส่วน
ส่วนที่ 1 เป็นที่พักสำหรับผู้สูงอายุ Active เปิดบริการจำนวน 350- 880 unit
ส่วนที่ 2 เป็นที่พัก บริการผู้สูงอายุ เนอร์สซิ่งโฮม และศูนย์สุขภาพ
ส่วนที่ 3 เป็น Compact จัดไว้ สำหรับผู้สูงอายุ Active สามารถรองรับ สมาชิกได้ถึง 800-1,600 คน
บริหารการจัดการโดย ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี ผู้ได้รับนโยบายจากกระทรวงพัฒนาสังคมฯกรมกิจการผู้สูงอายุ พร้อมคู่มือการบริการ ที่ทันสมัยและพร้อมให้บริการแบบมืออาชีพ ภาคเอกชนร่วมกันเปิดโครงการก่อสร้างบ้านเพื่อผู้สูงวัยหลังเกษียณอายุ ของสมาชิกครูและข้าราชการบำนาญ
การจัดการโครงการมีการลงทุนการก่อสร้าง
มีหลักการคัดเลือกสรรหาที่ดินในการก่อสร้างดังนี้
1.การใช้พื้นที่ของรัฐบาลโดยการ ขอใช้พื้นที่ของรัฐบาลผ่าน กรม ธนารักษ์,ที่ดินราชพัสดุ,ที่ดินของหน่วยงาน กรมป่าไม้ เพื่อการเช่าระยะยาวทำโครงการ
2.การใช้พื้นที่ ของสำนักงานการเคหะแห่งชาติหรือ พื้นที่นิติบุคคล เช่น สหกรณ์บริการต่างๆหรือสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ โดยการขอจัดซื้อระหว่างหน่วยงานโดยการทำข้อตำลงต่างๆร่วมกัน
3.การใช้ที่ดิน ของเอกชนโดยการจัดซื้อที่ดินทำโครงการดังกล่าว
แผนงานการก่อสร้าง แบ่งเป็น 5 ระยะ
ระยะที่ 1 แผนงาน สร้างโมเดล โครงการ 6 จังหวัด ดังนี้
1.จังหวัดชลบุรี จำนวน 880 หน่วย ตำบล หินกอง อำเภอ เมือง จังหวัด ชลบุรี (โครงการซีเนี่ยร์คอทเพล็กซ์ประชารัฐ ภาคเอกชน เมืองชลบุรี ทะเลเพิ่มสุข ) บริหารงานการก่อสร้างโดย บริษัท เอเอที แอล กรุ๊ป จำกัด โดย ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี ประธานโครงการและกรรมการบริหารฯและกรรมการบริหารบริษัทฯ มายโอโซไทยเพิ่มสุข
2.จังหวัด เพชรบูรณ์ จำนวน 800 หน่วย อำเภอ หล่มสัก , อำเภอ หล่มเก่า , อำเภอ เขาค้อ จังหวัด เพชรบูรณ์ (ซีเนี่ยร์คอมเพล็ก เพื่อสมาชิก สหกรณ์ ฯข้าราชการและประชาชนทั่วไป) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์
3.จังหวัดนครปฐม จำนวน 350 หน่วย ตำบลท่าตำหนัก อำเภอ นครชัยศรี จังหวัด นครปฐม (มายโอโซนไทยเพิ่มสุข) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุน
4.จังหวัด ระนอง จำนวน 800 หน่วย ตำบล หงาว อำเภอ เมือง จังหวัด ระนอง (มายโอโซนไทยเพิ่มสุข) ) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด มาร่วมทุน
5.จังหวัด นนทบุรี จำนวน 800 หน่วย ตำบลบางแม่นาง , อำเภอ บางใหญ่ จังหวัด นนทบุรี (วิลเลคโอโซนไทยเพิ่มสุข) ) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุน
6.จังหวัด สระบุรี จำนวน 880 หน่วย อำเภอ แก่งคอย , อำเภอ หน้าพระลาน จังหวัด สระบุรี(มายโอโซนเพิ่มสุข ) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณ๊ เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุนในการจัดทำโครงการ ตามนะโยบายของรัฐบาล พรบ.การส่งเสริมการลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2562 และได้กำหนดแผนการพัฒนาดังต่อไปนี้
ระยะที่ 2 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ระยะที่ 3 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคเหนือ
ระยะที่ 4 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคกลาง
ระยะที่ 5 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 16 จังหวัด ภาคใต้
ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์มากด้วยประสบการณ์ ดำเนินการพัฒนาโครงการเพื่อผู้สูงวัยพร้อมให้การบริการเป็นอย่างดีและทั่วถึงในการให้บริการ
ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี (ดร. สมัย )
ประธานโครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน
การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน จะมีขั้นตอนการจดทะเบียนและเมื่อจดจัดตั้งฯ แล้วจะได้รับสิทธิประโยชน์อย่างไรนั้น กลุ่มทะเบียนและสารสนเทศวิสาหกิจชุมชน กองส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน กรมส่งเสริมการเกษตร ได้แจงรายละเอียดหลักเกณฑ์ (ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548) เพื่อที่เกษตรกร ชุมชน ประชาชน ประสงค์จะขอยื่นจดทะเบียนจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนไว้ ดังนี้ หลักเกณฑ์ 1.รวมกลุ่มในชุมชนไม่น้อยกว่า 7 คน ไม่อยู่ในครอบครัวเดียวกัน และไม่มีชื่อในทะเบียนบ้านเดียวกัน 2.เป็นกิจการที่เกี่ยวกับการผลิตสินค้า การให้บริการ กิจการอื่นที่ทำให้เกิดการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของชุมชน 3.ดำเนินกิจการโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างรายได้ พึ่งพาตนเองและประโยชน์สุขของคนในชุมชน และ 4.ดำเนินกิจารโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย ความสงบเรียบร้อย ศิลธรรมอันดีของประชาชน เอกสารประกอบ ดังนี้ 1.กรณีไม่เป็นนิติบุคคล -แบบ สวช.01 (ฉบับจริง) -บัตรประจำตัวประชาชนของผู้มีอำนาจทำการแทน -ทะเบียนรายชื่อและที่อยู่ของผู้มีอำนาจทำการแทน และสมาชิก -หนังสือให้ความยินยอมฉบับจริง หรือสำเนามติที่ประชุมมอบหมายผู้มีอำนาจทำการแทน -สำเนาข้อบังคับของเครือข่ายฯ (กรณี จดทะเบียนเครือข่ายฯ) -สำเนา ท.ว.ช.2 ที่เป็นสมาชิกเครือข่ายฯ (กรณี จดทะเบียนเครือข่ายฯ) 2.กรณีเป็นนิติบุคคล -แบบ สวช.01 (ฉบับจริง) -บัตรประจำตัวประชาชนของผู้มีอำนาจทำการแทน -ทะเบียนรายชื่อและที่อยู่ของผู้มีอำนาจทำการแทน และสมาชิก -สำเนาเอกสารแสดงวัตถุประสงค์ ระเบียบ หรือข้อบังคับ -สำเนาบัญชีรายชื่อคณะกรรมการดำเนินการ -สำเนามติคณะกรรมการดำเนินการ หรือมติที่ประชุมใหญ่ให้จดทะเบียน และมอบหมายผู้มีอำนาจทำการแทน สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ จากการจดทะเบียนจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน (ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548) เพื่อเกษตรกร ประชาชนชุมชนนั้นๆ มีสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ ประกอบด้วย 1.ได้การรับรองตามกฎหมาย 2.ขอรับการส่งเสริมหรือสนับสนุนจากคณะกรรมส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนตามวิธีการที่คณะกรรมการกำหนด 3.มีสิทธิได้รับการส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนากิจกรรมตามมาตรการที่กำหนด ทั้งนี้ เมื่อตรวจสอบคุณสมบัติครบถ้วน เตรียมเอกสารประกอบเรียบร้อย ให้ไปยื่นขอจดทะเบียนฯที่สำนักงานเกษตรอำเภอ ที่วิสาหกิจชุมชนตั้งอยู่
ตอบลบการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน จะมีขั้นตอนการจดทะเบียนและเมื่อจดจัดตั้งฯ แล้วจะได้รับสิทธิประโยชน์อย่างไรนั้น กลุ่มทะเบียนและสารสนเทศวิสาหกิจชุมชน กองส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน กรมส่งเสริมการเกษตร ได้แจงรายละเอียดหลักเกณฑ์ (ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548) เพื่อที่เกษตรกร ชุมชน ประชาชน ประสงค์จะขอยื่นจดทะเบียนจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนไว้ ดังนี้ หลักเกณฑ์ 1.รวมกลุ่มในชุมชนไม่น้อยกว่า 7 คน ไม่อยู่ในครอบครัวเดียวกัน และไม่มีชื่อในทะเบียนบ้านเดียวกัน 2.เป็นกิจการที่เกี่ยวกับการผลิตสินค้า การให้บริการ กิจการอื่นที่ทำให้เกิดการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของชุมชน 3.ดำเนินกิจการโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างรายได้ พึ่งพาตนเองและประโยชน์สุขของคนในชุมชน และ 4.ดำเนินกิจารโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย ความสงบเรียบร้อย ศิลธรรมอันดีของประชาชน เอกสารประกอบ ดังนี้ 1.กรณีไม่เป็นนิติบุคคล -แบบ สวช.01 (ฉบับจริง) -บัตรประจำตัวประชาชนของผู้มีอำนาจทำการแทน -ทะเบียนรายชื่อและที่อยู่ของผู้มีอำนาจทำการแทน และสมาชิก -หนังสือให้ความยินยอมฉบับจริง หรือสำเนามติที่ประชุมมอบหมายผู้มีอำนาจทำการแทน -สำเนาข้อบังคับของเครือข่ายฯ (กรณี จดทะเบียนเครือข่ายฯ) -สำเนา ท.ว.ช.2 ที่เป็นสมาชิกเครือข่ายฯ (กรณี จดทะเบียนเครือข่ายฯ) 2.กรณีเป็นนิติบุคคล -แบบ สวช.01 (ฉบับจริง) -บัตรประจำตัวประชาชนของผู้มีอำนาจทำการแทน -ทะเบียนรายชื่อและที่อยู่ของผู้มีอำนาจทำการแทน และสมาชิก -สำเนาเอกสารแสดงวัตถุประสงค์ ระเบียบ หรือข้อบังคับ -สำเนาบัญชีรายชื่อคณะกรรมการดำเนินการ -สำเนามติคณะกรรมการดำเนินการ หรือมติที่ประชุมใหญ่ให้จดทะเบียน และมอบหมายผู้มีอำนาจทำการแทน สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ จากการจดทะเบียนจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน (ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548) เพื่อเกษตรกร ประชาชนชุมชนนั้นๆ มีสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ ประกอบด้วย 1.ได้การรับรองตามกฎหมาย 2.ขอรับการส่งเสริมหรือสนับสนุนจากคณะกรรมส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนตามวิธีการที่คณะกรรมการกำหนด 3.มีสิทธิได้รับการส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนากิจกรรมตามมาตรการที่กำหนด ทั้งนี้ เมื่อตรวจสอบคุณสมบัติครบถ้วน เตรียมเอกสารประกอบเรียบร้อย ให้ไปยื่นขอจดทะเบียนฯที่สำนักงานเกษตรอำเภอ ที่วิสาหกิจชุมชนตั้งอยู่
ตอบลบ