ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี วิธีการ การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน จะมีขั้นตอนการจดทะเบียนและเมื่อจดจัดตั้งฯ วิสาหกิจชุมชน งานดอกไม้ เมืองลพบุรี อ.เมือง จ.ลพบุรี

การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน จะมีขั้นตอนการจดทะเบียนและเมื่อจดจัดตั้งฯ โครงการ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน เพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
โครงการนี้จัดทำเพื่อกลุ่มเป้าหมายของสมาชิกที่ชัดเจน คือเพื่อสมาชิกสหกรณ์ฯและประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ ข้าราชการบำนาญทุกหน่วยงานพร้อมด้วยประชาชนทั่วไปที่มีความประสงค์ที่จะเข้าอยู่อาศัยในโครงการที่บริการ แบบครบวงจร ในการให้การบริการ แบบอย่างซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ซึ่งได้ออกแบบให้มีความทันสมัย และในโครงการมีการบริการ ดังเช่น โครงการรักษาสุขภาพ และ นันทนาการ 20 กิจกรรม ให้บริการสำหรับผู้สูงวัย ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุน และได้รับการสนับสนุนการประกอบกิจการในกิจการของรัฐ ตาม นโยบายของภาครัฐ ประจำปี 2558 กรมกิจการผู้สูงอายุ ได้ออกหนังสือการสนับสนุน ที่ 4040/3149 และได้ทำหนังสือถึงสำนักงานการเคหะแห่งชาติ เลขที่ 4040/ 14323 เพื่อร่วมกันหาแนวทางการทำงานร่วมกันในการลงทุนในกิจการของรัฐภาคเอกชน พร้อมทั้งนี้กรมกิจการผู้สูงอายุ ได้มอบคู่มือการวิธีการให้บริการ ตามนโยบายภาครัฐที่ได้มาตาฐานในการทำงาน ตาม พรบ.ส่งเสริมการลงทุน พร้อมรายชื่อประชาชนที่มีความต้องการจะอยู่อาศัยในโครงการของภาครัฐ ที่ลงทะเบียนไว้กับ ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการทางสังคมผู้สูงอายุวาสนะเวศม์ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา และ สำนักงานกิจการ ที่อยู่ในการดูแลของ กรมกิจการผู้สูงอายุ ของประเทศไทย เชิญประชุมร่วมกัน ตามเอกสารแนบท้ายมานี้ ดร. ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้างและพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจำนวนมาก เนื่องด้วยบริษัทฯ เป็นผู้ประกอบกิจการในจังหวัดนครปฐม และได้เล็งเห็นว่ารัฐบาลกำลังผลักดันและดำเนินโครงการประชารัฐด้านต่างๆเป็นจำนวนมาก บริษัทฯจึงมีความประสงค์ที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยเฉพาะด้านโดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงวัย จึงเขียนโครงการ ซี่เนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐ ภาคเอกชน เพื่อลงทุนในกิจการของรัฐ ตาม พรบ.ส่งเสริมการลงทุน ปี 2558 และได้ร่วมประชุม ศึกษาหาแนวทางการลงทุนและขอสนับนุการลงทุนในกิจการของภาครัฐ 2558 ต่อ หน่วยงานของรัฐ ผ่านกรมกิจการผู้สูงวัย ผ่านท่าน อธิบดี กรมกิจการผู้สูงอายุ ในเวลานั้น และได้รับหนังสือตอบรับตลอดจน รายชื่อผู้มีความประสงที่จะอยู่อาศัยในโครงการดังกล่าว ซึงมีจำนวนมาก และได้ขอการสนับสนุนจำนวนสมาชิกที่สนใจต่อโครงการ ซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐ ภาคเอกชน ถึงสำนักงานสหกรณ์บริการต่างๆและสหกรณ์ออมทรัพย์ครู จังหวัดต่างๆและประชาชนในพื้นที่ตามนโยบายของรัฐบาลที่มีความประสงค์จะเข้าพักอาศัยได้ ในพื้นที่ โครงการ เพื่อเป็นการวางแผนการอยู่อาศัย ในวัยชราที่สามารถฟื้นฟูคุณภาพชีวิตที่ดีถูกลักษณะการอยู่อาศัยที่ดี ตามนโยบายของรัฐบาล ปี 2558 ลักษณะโครงการ ประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นที่พักสำหรับผู้สูงอายุ Active เปิดบริการจำนวน 350- 880 unit ส่วนที่ 2 เป็นที่พัก บริการผู้สูงอายุ เนอร์สซิ่งโฮม และศูนย์สุขภาพ ส่วนที่ 3 เป็น Compact จัดไว้ สำหรับผู้สูงอายุ Active สามารถรองรับ สมาชิกได้ถึง 800-1,600 คน
บริหารการจัดการโดย ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี ผู้ได้รับนโยบายจากกระทรวงพัฒนาสังคมฯกรมกิจการผู้สูงอายุ พร้อมคู่มือการบริการ ที่ทันสมัยและพร้อมให้บริการแบบมืออาชีพ ภาคเอกชนร่วมกันเปิดโครงการก่อสร้างบ้านเพื่อผู้สูงวัยหลังเกษียณอายุ ของสมาชิกครูและข้าราชการบำนาญ การจัดการโครงการมีการลงทุนการก่อสร้าง มีหลักการคัดเลือกสรรหาที่ดินในการก่อสร้างดังนี้ 1.การใช้พื้นที่ของรัฐบาลโดยการ ขอใช้พื้นที่ของรัฐบาลผ่าน กรม ธนารักษ์,ที่ดินราชพัสดุ,ที่ดินของหน่วยงาน กรมป่าไม้ เพื่อการเช่าระยะยาวทำโครงการ 2.การใช้พื้นที่ ของสำนักงานการเคหะแห่งชาติหรือ พื้นที่นิติบุคคล เช่น สหกรณ์บริการต่างๆหรือสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ โดยการขอจัดซื้อระหว่างหน่วยงานโดยการทำข้อตำลงต่างๆร่วมกัน 3.การใช้ที่ดิน ของเอกชนโดยการจัดซื้อที่ดินทำโครงการดังกล่าว
แผนงานการก่อสร้าง แบ่งเป็น 5 ระยะ ระยะที่ 1 แผนงาน สร้างโมเดล โครงการ 6 จังหวัด ดังนี้ 1.จังหวัดชลบุรี จำนวน 880 หน่วย ตำบล หินกอง อำเภอ เมือง จังหวัด ชลบุรี (โครงการซีเนี่ยร์คอทเพล็กซ์ประชารัฐ ภาคเอกชน เมืองชลบุรี ทะเลเพิ่มสุข ) บริหารงานการก่อสร้างโดย บริษัท เอเอที แอล กรุ๊ป จำกัด โดย ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี ประธานโครงการและกรรมการบริหารฯและกรรมการบริหารบริษัทฯ มายโอโซไทยเพิ่มสุข 2.จังหวัด เพชรบูรณ์ จำนวน 800 หน่วย อำเภอ หล่มสัก , อำเภอ หล่มเก่า , อำเภอ เขาค้อ จังหวัด เพชรบูรณ์ (ซีเนี่ยร์คอมเพล็ก เพื่อสมาชิก สหกรณ์ ฯข้าราชการและประชาชนทั่วไป) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ 3.จังหวัดนครปฐม จำนวน 350 หน่วย ตำบลท่าตำหนัก อำเภอ นครชัยศรี จังหวัด นครปฐม (มายโอโซนไทยเพิ่มสุข) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุน 4.จังหวัด ระนอง จำนวน 800 หน่วย ตำบล หงาว อำเภอ เมือง จังหวัด ระนอง (มายโอโซนไทยเพิ่มสุข) ) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด มาร่วมทุน 5.จังหวัด นนทบุรี จำนวน 800 หน่วย ตำบลบางแม่นาง , อำเภอ บางใหญ่ จังหวัด นนทบุรี (วิลเลคโอโซนไทยเพิ่มสุข) ) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุน 6.จังหวัด สระบุรี จำนวน 880 หน่วย อำเภอ แก่งคอย , อำเภอ หน้าพระลาน จังหวัด สระบุรี(มายโอโซนเพิ่มสุข ) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณ๊ เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุนในการจัดทำโครงการ ตามนะโยบายของรัฐบาล พรบ.การส่งเสริมการลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2562 และได้กำหนดแผนการพัฒนาดังต่อไปนี้
ระยะที่ 2 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะที่ 3 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคเหนือ ระยะที่ 4 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคกลาง ระยะที่ 5 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 16 จังหวัด ภาคใต้ ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์มากด้วยประสบการณ์ ดำเนินการพัฒนาโครงการเพื่อผู้สูงวัยพร้อมให้การบริการเป็นอย่างดีและทั่วถึงในการให้บริการ
ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี (ดร. สมัย ) ประธานโครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน

ความคิดเห็น

  1. การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน จะมีขั้นตอนการจดทะเบียนและเมื่อจดจัดตั้งฯ แล้วจะได้รับสิทธิประโยชน์อย่างไรนั้น กลุ่มทะเบียนและสารสนเทศวิสาหกิจชุมชน กองส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน กรมส่งเสริมการเกษตร ได้แจงรายละเอียดหลักเกณฑ์ (ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548) เพื่อที่เกษตรกร ชุมชน ประชาชน ประสงค์จะขอยื่นจดทะเบียนจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนไว้ ดังนี้ หลักเกณฑ์ 1.รวมกลุ่มในชุมชนไม่น้อยกว่า 7 คน ไม่อยู่ในครอบครัวเดียวกัน และไม่มีชื่อในทะเบียนบ้านเดียวกัน 2.เป็นกิจการที่เกี่ยวกับการผลิตสินค้า การให้บริการ กิจการอื่นที่ทำให้เกิดการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของชุมชน 3.ดำเนินกิจการโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างรายได้ พึ่งพาตนเองและประโยชน์สุขของคนในชุมชน และ 4.ดำเนินกิจารโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย ความสงบเรียบร้อย ศิลธรรมอันดีของประชาชน เอกสารประกอบ ดังนี้ 1.กรณีไม่เป็นนิติบุคคล -แบบ สวช.01 (ฉบับจริง) -บัตรประจำตัวประชาชนของผู้มีอำนาจทำการแทน -ทะเบียนรายชื่อและที่อยู่ของผู้มีอำนาจทำการแทน และสมาชิก -หนังสือให้ความยินยอมฉบับจริง หรือสำเนามติที่ประชุมมอบหมายผู้มีอำนาจทำการแทน -สำเนาข้อบังคับของเครือข่ายฯ (กรณี จดทะเบียนเครือข่ายฯ) -สำเนา ท.ว.ช.2 ที่เป็นสมาชิกเครือข่ายฯ (กรณี จดทะเบียนเครือข่ายฯ) 2.กรณีเป็นนิติบุคคล -แบบ สวช.01 (ฉบับจริง) -บัตรประจำตัวประชาชนของผู้มีอำนาจทำการแทน -ทะเบียนรายชื่อและที่อยู่ของผู้มีอำนาจทำการแทน และสมาชิก -สำเนาเอกสารแสดงวัตถุประสงค์ ระเบียบ หรือข้อบังคับ -สำเนาบัญชีรายชื่อคณะกรรมการดำเนินการ -สำเนามติคณะกรรมการดำเนินการ หรือมติที่ประชุมใหญ่ให้จดทะเบียน และมอบหมายผู้มีอำนาจทำการแทน สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ จากการจดทะเบียนจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน (ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548) เพื่อเกษตรกร ประชาชนชุมชนนั้นๆ มีสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ ประกอบด้วย 1.ได้การรับรองตามกฎหมาย 2.ขอรับการส่งเสริมหรือสนับสนุนจากคณะกรรมส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนตามวิธีการที่คณะกรรมการกำหนด 3.มีสิทธิได้รับการส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนากิจกรรมตามมาตรการที่กำหนด ทั้งนี้ เมื่อตรวจสอบคุณสมบัติครบถ้วน เตรียมเอกสารประกอบเรียบร้อย ให้ไปยื่นขอจดทะเบียนฯที่สำนักงานเกษตรอำเภอ ที่วิสาหกิจชุมชนตั้งอยู่

    ตอบลบ
  2. การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน จะมีขั้นตอนการจดทะเบียนและเมื่อจดจัดตั้งฯ แล้วจะได้รับสิทธิประโยชน์อย่างไรนั้น กลุ่มทะเบียนและสารสนเทศวิสาหกิจชุมชน กองส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน กรมส่งเสริมการเกษตร ได้แจงรายละเอียดหลักเกณฑ์ (ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548) เพื่อที่เกษตรกร ชุมชน ประชาชน ประสงค์จะขอยื่นจดทะเบียนจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนไว้ ดังนี้ หลักเกณฑ์ 1.รวมกลุ่มในชุมชนไม่น้อยกว่า 7 คน ไม่อยู่ในครอบครัวเดียวกัน และไม่มีชื่อในทะเบียนบ้านเดียวกัน 2.เป็นกิจการที่เกี่ยวกับการผลิตสินค้า การให้บริการ กิจการอื่นที่ทำให้เกิดการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของชุมชน 3.ดำเนินกิจการโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างรายได้ พึ่งพาตนเองและประโยชน์สุขของคนในชุมชน และ 4.ดำเนินกิจารโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย ความสงบเรียบร้อย ศิลธรรมอันดีของประชาชน เอกสารประกอบ ดังนี้ 1.กรณีไม่เป็นนิติบุคคล -แบบ สวช.01 (ฉบับจริง) -บัตรประจำตัวประชาชนของผู้มีอำนาจทำการแทน -ทะเบียนรายชื่อและที่อยู่ของผู้มีอำนาจทำการแทน และสมาชิก -หนังสือให้ความยินยอมฉบับจริง หรือสำเนามติที่ประชุมมอบหมายผู้มีอำนาจทำการแทน -สำเนาข้อบังคับของเครือข่ายฯ (กรณี จดทะเบียนเครือข่ายฯ) -สำเนา ท.ว.ช.2 ที่เป็นสมาชิกเครือข่ายฯ (กรณี จดทะเบียนเครือข่ายฯ) 2.กรณีเป็นนิติบุคคล -แบบ สวช.01 (ฉบับจริง) -บัตรประจำตัวประชาชนของผู้มีอำนาจทำการแทน -ทะเบียนรายชื่อและที่อยู่ของผู้มีอำนาจทำการแทน และสมาชิก -สำเนาเอกสารแสดงวัตถุประสงค์ ระเบียบ หรือข้อบังคับ -สำเนาบัญชีรายชื่อคณะกรรมการดำเนินการ -สำเนามติคณะกรรมการดำเนินการ หรือมติที่ประชุมใหญ่ให้จดทะเบียน และมอบหมายผู้มีอำนาจทำการแทน สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ จากการจดทะเบียนจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน (ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548) เพื่อเกษตรกร ประชาชนชุมชนนั้นๆ มีสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ ประกอบด้วย 1.ได้การรับรองตามกฎหมาย 2.ขอรับการส่งเสริมหรือสนับสนุนจากคณะกรรมส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนตามวิธีการที่คณะกรรมการกำหนด 3.มีสิทธิได้รับการส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนากิจกรรมตามมาตรการที่กำหนด ทั้งนี้ เมื่อตรวจสอบคุณสมบัติครบถ้วน เตรียมเอกสารประกอบเรียบร้อย ให้ไปยื่นขอจดทะเบียนฯที่สำนักงานเกษตรอำเภอ ที่วิสาหกิจชุมชนตั้งอยู่

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

CPM กับ PERT ต่างกันอย่างไร

คำถามที่ 1 เอกสาร power point หน้า 13 มีกี่เส้นทาง ที่เป็นไปได้ และเส้นทางใดเป็น critical path พร้อมบอกระยะเวลาที่วิกฤติ               จากภาพ มีทั้งหมด 3 เส้นทางที่เป็นไปได้คือ               A - D - I = ใช้ระยะเวลา 0+3+8+6 = 17              B - E - G - J = ใช้ระยะเวลา 0+5+5+4+4 = 18               C - F - H - J  =  ใช้ระยะเวลา 0+7+5+5+4= 21              ดังนั้น   เส้นทางที่เป็น critical path คือ   C - F - H - J  ระยะเวลาที่วิกฤติคือ 21   คำถามที่ 2 ท่านคิดว่า CPM กับ PERT ต่างกันอย่างไร หน้า 19 กับ 26 การบริหารงานโครงการด้วยการ วางแผนควบคุม โดยใช้เทคนิค PERT : Program Evaluation and Review Technique และ CPM : Critical Path Method เป็นการวิเคราะห์ข่ายงานที่มักนำมาใช้ในการบริหารงานโครงการ มีจุดเริ่มต้นของโครงการจนถึงปิดโครงการที่แน่นอน มีส่วนงานย่อยต่าง ๆ ที่มีการกระจายโดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ข้อแตกต่างชัดเจนระหว่าง PERT และ CPM คือ เวลาในการทำกิจกรรม โดยที่เวลาในการทำกิจกรรมของ PERT จะเป็นเวลาโดยประมาณซึ่งคำนวณได้ด้วยการใช้ความน่าจะเป็น PERT จึงใช้กับโครงการ

สอนงานการทำงวด งานการก่อสร้าง การจัดงวดงานเบื้องต้น มูลค่างานที่จ่ายควรใกล้เคียงกัน ส่งเสริมให้องค์กรแข็งแรง

รายงานย่อยฉบับที่ 1 ปัญหาจากการจัดงวดงานที่ควรทราบ กระทู้คำถาม ออกแบบและสร้างบ้าน คุ้มครองผู้บริโภค สวัสดีครับ พี่ๆน้องๆชาวพันทิพย์ จากกระทู้ที่ผมเคยตั้งไว้   รายงานการก่อสร้างบ้านพัก 2 ชั้น ฉบับที่ 1   http://pantip.com/topic/30590647 รายงานการก่อสร้างบ้านพัก 2 ชั้น ฉบับที่ 2   http://pantip.com/topic/30609981 ถ้าท่านใดขอรับบันทึกการประชุมทางหลังไมค์ของผมไปจะพบว่าช่วงท้ายได้มีการพูดถึงการจัดงวดงานใหม่ ผมจึงอยากนำกรณีนี้มานำมาประกอบความเข้าใจ ผมขออนุญาตติด tag 2 ห้องนะครับ 1. ห้องชายคา - เกี่ยวกับขั้นตอนการสร้างบ้าน 2. คุ้มครองผู้บริโภค - เกี่ยวกับการรักษาผลประโยชน์ให้เจ้าของบ้านซึ่งอาจถูกเอาเปรียบได้ ถ้าท่านไหนมีคำแนะนำเพิ่มเติม แนะนำได้เลยนะครับ เพราะผมเองอาจจะมีข้อผิดพลาด ถือว่าแลกเปลี่ยนมุมมองกันครับ 7   6   chekub       17 มิถุนายน 2556 เวลา 21:56 น. สมาชิกหมายเลข 1439329  ถูกใจ,   You raise me up  ถูกใจ,   Paradise Slice and double shot  ถูกใจ,   สาวบางกอก  ถูกใจ,   แมวมองนอนหวด  ถูกใจ,   สมาชิกหมายเลข 746318  ทึ่ง 18 ความคิดเห็น ความคิ

กลยุทธ์ใหม่ ModernTrade เพิ่มยอดขาย ขยายรูปแบบ แย่งลูกค้าคู่แข่ง

      โดย...ธันยวัชร์ ไชยตระกูลชัย                หลังจากควบรวมกิจการกับคาร์ฟูร์                บิ๊กซี ก็ผงาดขึ้นเป็นเบอร์ 2                จ่อไล่หลังเทสโก้โลตัสมาติดๆ                 และก็มีความเคลื่อนไหว ใน "รูปแบบ" ของตัวห้างออกมาอย่างต่อเนื่อง                มาลองทบทวนดูความเคลื่อนไหวดูอีกสักครั้ง               เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 Casino Guichard-Perrachon หรือ กลุ่มคาสิโน ได้ชนะการประมูลกิจการคาร์ฟูร์ในประเทศไทย ด้วยราคาซื้อขาย 686 ล้านยูโร โดยมีธนาคารดอยซ์แบงก์ เป็นที่ปรึกษา ทั้งนี้ บริษัทดังกล่าวถือหุ้น บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ในประเทศไทย และ 2 บริษัทรวมตัวกัน และจะส่งผลให้สาขาของบิ๊กซีเพิ่มเป็น 105 สาขา จาก 60 สาขาในขณะนั้น คิดเป็นมูลค่า 35,500 ล้านบาท               การควบรวมกันเสร็จสิ้นในเดือนมกราคมที่ผ่านมา โดยปัจจุบัน บิ๊กซีได้ทำการรีโนเวตห้างคาร์ฟูร์ทุกสาขาให้กลายเป็น "บิ๊กซี" ทั้งหมด               โดยรูปแบบจะแตกต่างกันไป มีตั้งแต่ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์, บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า, บิ๊กซี มาร์เก็ต (เดิม