คำถาม Site Visit แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices)
“การพัฒนาการบริหารจัดการเชิงรุก” ด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร
ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
วันที่ 11 กรกฎาคม 2551
ณ ห้องประชุมสำนักวิจัยและพัฒนา
ชั้น 3
อาคารบริหารวิชาการรวม
คำถามหลักที่ 1 ด้านบริหารทรัพยากรมนุษย์
1.
บุคลากรในองค์กรของท่านมีความพึงพอใจในด้านใดมากที่สุดเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล
2.
การพัฒนาและกระบวนการบริหารบุคลากรที่ทำให้องค์กรประสบความสำเร็จสู่การเป็น
Best
Practiceอย่างไร
3.
มีวิธีการทำให้พนักงานมีความสุขและความพึงพอใจในการปฏิบัติงานอย่างไร
ในขณะที่พนักงานมีภาระงานสูงและมีความเครียด
ทั้งนี้หากประสบความสำเร็จจะเป็นพลังร่วมอย่างหนึ่งที่จะนำองค์กรไปสู่ความเป็นเลิศ
4.
จะพัฒนาการบริหารเชิงรุกได้อย่างไร
ภายใต้ความไม่สอดคล้องระหว่างภาระงานและอัตรากำลัง
5.
วิธีการที่ทำให้บุคลากรในองค์กรปฏิบัติตามนโยบายการบริหารจัดการเชิงรุก
คำถามหลักที่ 2 ด้านการบริหารจัดการ
1.
จะเริ่มต้นบริหารจัดการเชิงรุกอย่างไร
2.
ผลกระทบของการบริหารจัดการเชิงรุกมีอะไรบ้างและเหมาะกับหน่วยงานภาคราชการอย่างไร
3.
มีการบริหารแบบป้องกันและริเริ่มในเรื่องใด
จัดทำอย่างไร
4.
หลักการบริหารจัดการเชิงรุกมีอะไรบ้าง
และสามารถประยุกต์ใช้กับงานต่างๆ ที่แตกต่างกันได้หรือไม่
5.
องค์กรของท่านมีขั้นตอนหรือกระบวนการในการจัดทำแผนกลยุทธ์อย่างไร
6.
องค์กรของท่านมีกระบวนการในการบริหารเวลาอย่างไร
7.
กรณีบริหารจัดการงานที่ไม่ได้เบ็ดเสร็จในตัวเองขององค์กรจะมีวิธีหรือระบบบริหารจัดการอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ
ปัญหาที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเกิดจากการไม่สามารถปฏิบัติตามระเบียบฯ
ข้อบังคับได้ทั้งคณะ และนักศึกษา จึงมักจะเกิดกรณีขออนุมัติเป็นกรณีพิเศษเสมอๆ
และมักจะขัดแย้งกับระเบียบฯ ข้อบังคับดังกล่าวข้างต้น
8.
การเปิดช่องทางการตลาดเพิ่มโดยการเช่าพื้นที่ห้างคาร์ฟูร์คุ้มค่ากับการลงทุนหรือไม่
อย่างไร
คำถามหลักที่ 3 ด้านความพึงพอใจ
1.
รักษาระดับความพึงพอใจลูกค้าได้อย่างไร
คำถามหลักที่ 4 ด้านภาวะผู้นำ
1.
จุดเด่นในการบริหารองค์กรของคณะผู้บริหารของท่านคืออะไร
2.
ระยะเวลาในการบริหารจัดการเพื่อให้ได้มาซึ่งแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศใช้เวลานานหรือไม่อย่างไร
คำถามหลักที่ 5 ด้านกลยุทธ์และปัจจัยแห่งความสำเร็จ
1.
รักษาระดับความพึงพอใจลูกค้าได้อย่างไร
คำถามหลักที่ 6
1.
มีปัจจัยความสำเร็จและกลยุทธ์ในการบริหารจัดการเชิงรุกภายในหน่วยงานอะไรบ้าง
2.
ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการเชิงรุกหน่วยงาน
คำถามหลักที่
1 ด้านบริหารทรัพยากรมนุษย์
คำถาม
|
ปัจจัยสนับสนุนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ
(Enablers)
|
แนวทางการประยุกต์ใช้
|
1.
บุคลากรในองค์กรของท่านมีความพึงพอใจในด้านใดมากที่สุดเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล
|
§ พอใจในปริมาณงานในปัจจุบันและดุลยภาพระหว่างการทำงานกับชีวิตครอบครัว
|
1.
วิเคราะห์ภาระงานให้เหมาะสม
2.
ฝึกให้บุคลากรทำงานทดแทนกันได้
3.
มีการติดตามงานอย่างสม่ำเสมอ
|
2.
การพัฒนาและกระบวนการบริหารบุคลากรที่ทำให้องค์กรประสบความสำเร็จสู่การเป็น
Best
Practiceอย่างไร
|
§ มีการประเมินบุคลากรในทุกระดับ
§ มีการสื่อสารในองค์กรที่ดี
§ ลดช่องว่างระหว่างผู้บริหารกับผู้ปฏิบัติ
§ สร้างวัฒนธรรมในการทำงาน
|
4.
ส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานให้รางวัล/ค่าตอบแทน
5.
ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้และพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง
6.
พัฒนาระบบการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ
|
3.
มีวิธีการทำให้พนักงานมีความสุขและความพึงพอใจในการปฏิบัติงานอย่างไร
ในขณะที่พนักงานมีภาระงานสูงและมีความเครียด
ทั้งนี้หากประสบความสำเร็จจะเป็นพลังร่วมอย่างหนึ่งที่จะนำองค์กรไปสู่ความเป็นเลิศ
|
§ จัดกิจกรรมนอกสถานที่อย่างน้อยปีละ
2
ครั้ง
§ จัดกิจกรรมร่วมกันในเทศกาลสำคัญๆ
§ ให้รางวัล/ค่าตอบแทน
§ ส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน
§ สภาพแวดล้อมที่เหมือนบ้าน
§ จัดระบบความปลอดภัยสำหรับการทำงาน
|
7.
สร้างวัฒนธรรมในการทำงาน
8.
สร้างสภาพแวดล้อมที่เหมือนบ้านสร้างดุลยภาพระหว่างการทำงานกับชีวิตครอบครัว
9.
สร้างความสามัคคีในองค์กรช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน
10.
การจัดกิจกรรม
|
4.
จะพัฒนาการบริหารเชิงรุกได้อย่างไร
ภายใต้ความไม่สอดคล้องระหว่างภาระงานและอัตรากำลัง
|
§ จัดทำแผนอัตรากำลังขององค์กร
§ จัดทำคู่มือปฏิบัติงานทุกภาระงาน
§ จัดตั้งคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์องค์กรตามศักยภาพและความสมัครใจ
§ ฝึกให้บุคลากรทำงานทดแทนกันได้
§ เพิ่มศักยภาพของบุคลากร
ส่งเสริมให้เรียนรู้ด้วยตนเอง
§ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อลดภาระงาน
และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
|
10.1
จัดกิจกรรมนอกสถานที่อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
10.2
จัดกิจกรรมร่วมกันในเทศกาลสำคัญ ๆ
|
5.
วิธีการที่ทำให้บุคลากรในองค์กรปฏิบัติตามนโยบายการบริหารจัดการเชิงรุก
|
§ ให้มองเรื่องเล็กเป็นเรื่องใหญ่
เช่น การอำนวยความสะดวกให้ผู้รับบริการ และมองเรื่องใหญ่ให้เป็นเรื่องเล็ก เช่น
ลดขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ทำงานได้รวดเร็วขึ้น
§ สร้างความสามัคคีในองค์กร
§ ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันนำมาสู่ความภาคภูมิใจขององค์กร
§ มีการติดตามงานอย่างสม่ำเสมอ
§ ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้และพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง
|
|
คำถามหลักที่
2 ด้านการบริหารจัดการ
คำถาม
|
ปัจจัยสนับสนุนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ
(Enablers)
|
แนวทางการประยุกต์ใช้
|
1.
จะเริ่มต้นบริหารจัดการเชิงรุกอย่างไร
|
§ วิเคราะห์ SWOT
§ กำหนดเป้าหมายและสื่อสารให้บุคลากรทราบ
|
1.
จัดทำแผนกลยุทธ์เพื่อการวางแผนและกำหนดเป้าหมาย
|
2.
ผลกระทบของการบริหารจัดการเชิงรุกมีอะไรบ้างและเหมาะกับหน่วยงานภาคราชการอย่างไร
|
§ หากเร่งดำเนินการมากเกินไปจะทำให้บุคลากรท้อแท้กับการทำงาน
§ หากไม่มีการจัดการเชิงรุกองค์กรจะหยุดนิ่ง
|
2.
นำเครื่องมือทางการบริหารไปประยุกต์ใช้ร่วมกับแผนกลยุทธ์
ได้แก่
2.1.
Balance Scorecard
|
3.
มีการบริหารแบบป้องกันและริเริ่มในเรื่องใด
จัดทำอย่างไร
|
§ มีระบบการตรวจสอบเครื่องมือตามระยะเวลา
§ มีแผนในการบำรุงรักษาเครื่องมืออย่างเป็นระบบ
|
2.2.
Key Performance Indicator
2.3.
Knowledge Management
|
4.
หลักการบริหารจัดการเชิงรุกมีอะไรบ้าง
และสามารถประยุกต์ใช้กับงานต่างๆ ที่แตกต่างกันได้หรือไม่
|
§ หลัก 7Cs
§ BSC
|
3.
มีระบบฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการบริหารจัดการ
|
5.
องค์กรของท่านมีขั้นตอนหรือกระบวนการในการจัดทำแผนกลยุทธ์อย่างไร
|
§ ใช้ BSC
§ นำข้อด้อยจากองค์กรมาจัดทำเป็นแผนกลยุทธ์
§ ตั้ง KPI ให้น้อยแต่มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับทิศทางขององค์กร
|
|
6.
องค์กรของท่านมีกระบวนการในการบริหารเวลาอย่างไร
|
§ ลดขั้นตอนการทำงาน
§ มีการติดตามงานอย่างสม่ำเสมอ
§ นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
|
|
7.
กรณีบริหารจัดการงานที่ไม่ได้เบ็ดเสร็จในตัวเองขององค์กรจะมีวิธีหรือระบบบริหารจัดการอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ
ปัญหาที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเกิดจากการไม่สามารถปฏิบัติตามระเบียบฯ
ข้อบังคับได้ทั้งคณะ และนักศึกษา จึงมักจะเกิดกรณีขออนุมัติเป็นกรณีพิเศษเสมอๆ
และมักจะขัดแย้งกับระเบียบฯ ข้อบังคับดังกล่าวข้างต้น
|
§ ใช้วิธีการสื่อสารทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
§ ใช้วิธีการปฏิบัติที่สามารถยืดหยุ่นได้
|
|
8.
การเปิดช่องทางการตลาดเพิ่มโดยการเช่าพื้นที่ห้างคาร์ฟูร์คุ้มค่ากับการลงทุนหรือไม่
อย่างไร
|
§ คุ้มค่า
ในด้านการประชาสัมพันธ์องค์กรและสร้างเครือข่ายภาคประชาชน
|
|
คำถามหลักที่
3 ด้านความพึงพอใจ
คำถาม
|
ปัจจัยสนับสนุนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ
(Enablers)
|
แนวทางการประยุกต์ใช้
|
1.
รักษาระดับความพึงพอใจลูกค้าได้อย่างไร
|
§ ใส่ใจในทุกเรื่องราว
§ สรรหาวิธีการบริการอย่างไม่หยุดนิ่ง
§ บริการเหนือความคาดหมาย
§ อำนวยความสะดวก
§ คุยเจรจาอย่างสุภาพ
|
1.
บุคลากรจะต้องมีจิตบริการ (Service Mind)
2.
เพิ่มช่องทางการให้บริการ
|
คำถามหลักที่
4 ด้านภาวะผู้นำ
คำถาม
|
ปัจจัยสนับสนุนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ
(Enablers)
|
แนวทางการประยุกต์ใช้
|
1.
จุดเด่นในการบริหารองค์กรของคณะผู้บริหารของท่านคืออะไร
|
§ ติดดิน
เป็นกันเอง
§ พร้อมที่จะเป็นผู้ให้
§ ผู้นำเป็นฝ่ายสนับสนุน
ให้คำแนะนำและชื่นชม
§ ผู้นำสนับสนุนความก้าวหน้าของบุคลากร
§ มีงบประมาณสนับสนุนการทำวิจัยสถาบัน
§ Teamwork
|
1.
ผู้นำติดดิน เป็นกันเอง
2.
ผู้นำพร้อมที่จะเป็นผู้ให้
3.
ผู้นำเป็นฝ่ายสนับสนุน
ให้คำแนะนำและชื่นชม
4.
ผู้นำสนับสนุนความก้าวหน้าของบุคลากร
|
5.
ระยะเวลาในการบริหารจัดการเพื่อให้ได้มาซึ่งแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศใช้เวลานานหรือไม่อย่างไร
|
§ ใช้ระยะเวลานาน และต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
§ ใช้ PDCA เป็นตัวขับเคลื่อนในการปฏิบัติงาน
4 ครั้งในรอบ 1 ปี
|
|
คำถามหลักที่
5 ด้านกลยุทธ์และปัจจัยแห่งความสำเร็จ
คำถาม
|
ปัจจัยสนับสนุนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ
(Enablers)
|
แนวทางการประยุกต์ใช้
|
1.
มีปัจจัยความสำเร็จและกลยุทธ์ในการบริหารจัดการเชิงรุกภายในหน่วยงานอะไรบ้าง
|
§ สนับสนุนให้บุคลากรพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพให้เต็มที่
§ สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน
§ สนับสนุนความเจริญก้าวหน้าของบุคลากร
|
1.
จัดทำแผนพัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ
2.
สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน
3.
ปรับแนวคิดบุคลากรที่มีความแตกต่าง
ให้เข้าใจตรงกัน
|
2.
ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการเชิงรุกหน่วยงาน
|
§ บุคลากรมีความเข้าใจไม่ตรงกัน
|
|
การพัฒนาการบริหารจัดการเชิงรุก เหมาะกับทุกองค์กร
ตอบลบ