รายละเอียดการตรวจสอบ
กฎหมาย ได้กำหนดให้เจ้าของอาคารต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบอาคารด้านวิศวกรรมหรือผู้ ตรวจสอบด้านสถาปัตยกรรม แล้วแต่กรณี ต้องทำการตรวจสอบสิ่งต่างๆ ดังต่อไปนี้
(1) การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร ดังนี้
(1.1) การต่อเติมดัดแปลงปรับปรุงตัวอาคาร
(1.2) การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักบรรทุกบนพื้นอาคาร
(1.3) การเปลี่ยนสภาพการใช้อาคาร
(1.4) การเปลี่ยนแปลงวัสดุก่อสร้างหรือวัสดุตกแต่งอาคาร
(1.5) การชำรุดสึกหรอของอาคาร
(1.5) การวิบัติของโครงสร้างอาคาร
(1.7) การทรุดตัวของฐานรากอาคาร
(2) การตรวจสอบระบบและอุปกรณ์ประกอบของอาคาร
(2.1) ระบบบริการและอำนวยความสะดวก
(2.1.1) ระบบลิฟต์
(2.1.2) ระบบบันไดเลื่อน
(2.1.3) ระบบไฟฟ้า
(2.1.4) ระบบปรับอากาศ
(2.2) ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม
(2.2.1) ระบบประปา
(2.2.2) ระบบระบายน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย
(2.2.3) ระบบระบายน้ำฝน
(2.2.4) ระบบจัดการมูลฝอย
(2.2.5) ระบบระบายอากาศ
(2.2.6) ระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง
(2.3) ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
(2.3.1) บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ
(2.3.2) เครื่องหมายและไฟป้ายทางออกฉุกเฉิน
(2.3.3) ระบบระบายควันและควบคุมการแพร่กระจายควัน
(2.3.4) ระบบไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน
(2.3.5) ระบบลิฟต์ดับเพลิง
(2.3.6) ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
(2.3.7) ระบบการติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิง
(2.3.8) ระบบการจ่ายน้ำดับเพลิง เครื่องสูบน้ำดับเพลิง และหัวฉีดน้ำดับเพลิง
(2.3.9) ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
(2.3.10) ระบบป้องกันฟ้าผ่า
(3) การตรวจสอบสมรรถนะของระบบและอุปกรณ์ต่าง ๆ ของอาคารเพื่ออพยพผู้ใช้อาคาร
(3.1) สมรรถนะบันไดหนีไฟและทางหนีไฟ
(3.2) สมรรถนะเครื่องหมายและไฟป้ายทางออกฉุกเฉิน
(3.2) สมรรถนะระบบแจ้งสัญญาณเหตุเพลิงไหม้
(4) การตรวจสอบระบบบริหารจัดการความปลอดภัยในอาคาร
(4.1) แผนการป้องกันและระงับอัคคีภัยในอาคาร
(4.2) แผนการซ้อมอพยพผู้ใช้อาคาร
(4.3) แผนการบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาคาร
(4.4) แผนการบริหารจัดการของผู้ตรวจสอบอาคาร
การตรวจสอบใหญ่
เป็น การตรวจสอบโครงสร้างอาคารและระบบทุกระบบ ตามที่กล่าวมาแล้ว โดยให้กระทำทุก 5 ปี ในการตรวจสอบใหญ่ทุกครั้ง ผู้ตรวจสอบต้องจัดทำแผนต่างๆ ดังนี้
(1) แผนปฏิบัติการการตรวจบำรุงรักษาอาคารและอุปกรณ์ประกอบของอาคาร รวมทั้งคู่มือปฏิบัติการตามแผนดังกล่าวให้แก่ เจ้าของอาคารเพื่อเป็นแนวทางการตรวจบำรุงรักษา และการบันทึกข้อมูลการตรวจบำรุงรักษาอาคาร
(2) แผนการตรวจสอบอาคารและอุปกรณ์ประกอบของอาคารประจำปีรวมทั้งแนวทางการตรวจสอบ ตามแผนดังกล่าวให้แก่ เจ้าของอาคาร เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบอาคารและอุปกรณ์ประกอบของอาคารประจำปี
เป็น การตรวจสอบโครงสร้างอาคารและระบบทุกระบบ ตามที่กล่าวมาแล้ว โดยให้กระทำทุก 5 ปี ในการตรวจสอบใหญ่ทุกครั้ง ผู้ตรวจสอบต้องจัดทำแผนต่างๆ ดังนี้
(1) แผนปฏิบัติการการตรวจบำรุงรักษาอาคารและอุปกรณ์ประกอบของอาคาร รวมทั้งคู่มือปฏิบัติการตามแผนดังกล่าวให้แก่ เจ้าของอาคารเพื่อเป็นแนวทางการตรวจบำรุงรักษา และการบันทึกข้อมูลการตรวจบำรุงรักษาอาคาร
(2) แผนการตรวจสอบอาคารและอุปกรณ์ประกอบของอาคารประจำปีรวมทั้งแนวทางการตรวจสอบ ตามแผนดังกล่าวให้แก่ เจ้าของอาคาร เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบอาคารและอุปกรณ์ประกอบของอาคารประจำปี
การตรวจสอบประจำปี
เป็น การตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบอาคารและอุปกรณ์ประกอบของอาคารประจำปีที่ผู้ตรวจ สอบได้จัดทำไว้ในการตรวจสอบใหญ่ การตรวจสอบประจำปีให้กระทำทุกปี
รายการที่ต้องตรวจสอบเป็น การตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบอาคารและอุปกรณ์ประกอบของอาคารประจำปีที่ผู้ตรวจ สอบได้จัดทำไว้ในการตรวจสอบใหญ่ การตรวจสอบประจำปีให้กระทำทุกปี
กฎหมาย ได้กำหนดให้เจ้าของอาคารต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบอาคารด้านวิศวกรรมหรือผู้ ตรวจสอบด้านสถาปัตยกรรม แล้วแต่กรณี ต้องทำการตรวจสอบสิ่งต่างๆ ดังต่อไปนี้
(1) การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร ดังนี้
(1.1) การต่อเติมดัดแปลงปรับปรุงตัวอาคาร
(1.2) การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักบรรทุกบนพื้นอาคาร
(1.3) การเปลี่ยนสภาพการใช้อาคาร
(1.4) การเปลี่ยนแปลงวัสดุก่อสร้างหรือวัสดุตกแต่งอาคาร
(1.5) การชำรุดสึกหรอของอาคาร
(1.5) การวิบัติของโครงสร้างอาคาร
(1.7) การทรุดตัวของฐานรากอาคาร
(2) การตรวจสอบระบบและอุปกรณ์ประกอบของอาคาร
(2.1) ระบบบริการและอำนวยความสะดวก
(2.1.1) ระบบลิฟต์
(2.1.2) ระบบบันไดเลื่อน
(2.1.3) ระบบไฟฟ้า
(2.1.4) ระบบปรับอากาศ
(2.2) ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม
(2.2.1) ระบบประปา
(2.2.2) ระบบระบายน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย
(2.2.3) ระบบระบายน้ำฝน
(2.2.4) ระบบจัดการมูลฝอย
(2.2.5) ระบบระบายอากาศ
(2.2.6) ระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง
(2.3) ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
(2.3.1) บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ
(2.3.2) เครื่องหมายและไฟป้ายทางออกฉุกเฉิน
(2.3.3) ระบบระบายควันและควบคุมการแพร่กระจายควัน
(2.3.4) ระบบไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน
(2.3.5) ระบบลิฟต์ดับเพลิง
(2.3.6) ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
(2.3.7) ระบบการติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิง
(2.3.8) ระบบการจ่ายน้ำดับเพลิง เครื่องสูบน้ำดับเพลิง และหัวฉีดน้ำดับเพลิง
(2.3.9) ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
(2.3.10) ระบบป้องกันฟ้าผ่า
(3) การตรวจสอบสมรรถนะของระบบและอุปกรณ์ต่าง ๆ ของอาคารเพื่ออพยพผู้ใช้อาคาร
(3.1) สมรรถนะบันไดหนีไฟและทางหนีไฟ
(3.2) สมรรถนะเครื่องหมายและไฟป้ายทางออกฉุกเฉิน
(3.2) สมรรถนะระบบแจ้งสัญญาณเหตุเพลิงไหม้
(4) การตรวจสอบระบบบริหารจัดการความปลอดภัยในอาคาร
(4.1) แผนการป้องกันและระงับอัคคีภัยในอาคาร
(4.2) แผนการซ้อมอพยพผู้ใช้อาคาร
(4.3) แผนการบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาคาร
(4.4) แผนการบริหารจัดการของผู้ตรวจสอบอาคาร
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น