?
การแก้ไขปัญหาอาคารทรุดเอียง, ทรุดร้าว, ทรุดตัวไม่เท่ากัน ล้วนเกิดจากปัญหาฐานรากทั้งสิ้น โดยก่อนการเลือกวิธีการปรับปรุงฐานรากนั้น จำเป็นต้องดำเนินการดังต่อไปนี้
1. เก็บข้อมูลการทรุดตัว (Data Collection)เปรียบเทียบกับข้อมูลดินและแบบโครงสร้างเดิมที่มีการก่อ สร้าง และสภาพความเสียหายหรือระดับความแตกต่างของการทรุดตัวของอาคารที่ เป็นอยู่ เพื่อนำข้อมูลต่างๆ มาวินิจฉัยสาเหตุ (Analysis) ของการทรุดตัวนั้นๆ โดยต้องจัดทำและอยู่ในความควบคุมดูแลโดยสามัญวิศวกรโยธาหรือวุฒิวิศวกรโยธา ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
2. ดำเนินการออกแบบแก้ไขฐานราก (Underpinning Design) โดยส่วนใหญ่จะนิยมการใช้ระบบเสาเข็มที่สามารถดำเนินการได้ในที่แคบ เช่น เสาเข็มเจาะ (Bore Pile), หรือ ไมโครไพล์ (Micropile) เป็นต้น
3. ดำเนินการแก้ไข (Proceed) โดยระหว่างการดำเนินการต้องได้รับการควบคุมดูแลโดยวิศวกรทุกขั้นตอน เพราะถือเป็นงานที่เสี่ยงอันตรายมาก
เพราะเรา....คือผู้เชี่ยวชาญการปรับปรุง ฐานรากอย่างมืออาชีพ พร้อมยินดีให้คำปรึกษาทุกปัญหาทางวิศวกรรมฐานราก ด้วยบรรยากาศการสนทนาสบายๆ และเป็นกันเอง
ติดต่อเราได้ที่
การแก้ไขปัญหาอาคารทรุดเอียง, ทรุดร้าว, ทรุดตัวไม่เท่ากัน ล้วนเกิดจากปัญหาฐานรากทั้งสิ้น โดยก่อนการเลือกวิธีการปรับปรุงฐานรากนั้น จำเป็นต้องดำเนินการดังต่อไปนี้
1. เก็บข้อมูลการทรุดตัว (Data Collection)เปรียบเทียบกับข้อมูลดินและแบบโครงสร้างเดิมที่มีการก่อ สร้าง และสภาพความเสียหายหรือระดับความแตกต่างของการทรุดตัวของอาคารที่ เป็นอยู่ เพื่อนำข้อมูลต่างๆ มาวินิจฉัยสาเหตุ (Analysis) ของการทรุดตัวนั้นๆ โดยต้องจัดทำและอยู่ในความควบคุมดูแลโดยสามัญวิศวกรโยธาหรือวุฒิวิศวกรโยธา ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
2. ดำเนินการออกแบบแก้ไขฐานราก (Underpinning Design) โดยส่วนใหญ่จะนิยมการใช้ระบบเสาเข็มที่สามารถดำเนินการได้ในที่แคบ เช่น เสาเข็มเจาะ (Bore Pile), หรือ ไมโครไพล์ (Micropile) เป็นต้น
3. ดำเนินการแก้ไข (Proceed) โดยระหว่างการดำเนินการต้องได้รับการควบคุมดูแลโดยวิศวกรทุกขั้นตอน เพราะถือเป็นงานที่เสี่ยงอันตรายมาก
เพราะเรา....คือผู้เชี่ยวชาญการปรับปรุง ฐานรากอย่างมืออาชีพ พร้อมยินดีให้คำปรึกษาทุกปัญหาทางวิศวกรรมฐานราก ด้วยบรรยากาศการสนทนาสบายๆ และเป็นกันเอง
ติดต่อเราได้ที่
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น